Elsa - Disney's Frozen

วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง

การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง  

       เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกเพียงแรงเดียว การเคลื่อนที่ลักษณะนี้จะไม่คิดแรงต้านของอากาศ การตกอย่างอิสระวัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งค่าหนึ่ง เรียกว่า ความเร่งโน้มถ่วง (Gravitational acceleration) เขียนแทนด้วย g ซึ่งมีค่า g = 9.80665 m/s^2 แต่ใช้ค่าประมาณ 9.8 หรือ 10 m/s^2 ในการคำนวณ
สมการการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง คือ การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงแบบหนึ่งดังนั้นสมการในการคำนวณจึงเหมือนกับ สมการการเคลื่อนที่ในแนวราบเพียงแต่เปลี่ อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง

ความเร็วและอัตราเร็ว


         ในขณะที่วัตถุมีการเคลื่อนที่  ได้ระยะทางและการกระจัดในเวลาเดียวกัน  และต้องใช้เวลาในการเคลื่อนที่  จึงทำให้เกิดปริมาณสัมพันธ์ขึ้น  ปริมาณดังกล่าวคือ
    1. อัตราเร็ว  คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นเปริมาณสเกลลาร์ หน่วยในระบบเอสไอ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที
    2. ความเร็ว คือ ขนาดของการกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ ใช้หน่วยเดียวกับอัตราเร็ว
    สมการแสดงความสัมพันธ์ของอัตราเร็ว ระยะทาง และเวลาเป็นดังนี้
              ให้         เป็นค่าอัตราเร็วหรือความเร็ว
                           เป็นระยะทางหรือการกระจัด
                            เป็นเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่
               สมการคือ                           (สมการที่ 1)                  
         อัตราเร็ว และความเร็ว เป็นปริมาณที่แสดงให้ทราบลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุ    ถ้าในทุก ๆ  หน่วยเวลาของการเคลื่อนที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยขนาดของอัตราเร็ว หรือ ความเร็วเท่ากันตลอดการเคลื่อ อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ อัตราเร็วและความเร็ว

ปริมาณสเกลลาร์

   ปริมาณสเกลลาร์  
คือ ปริมาณที่กำหนดแต่เพียงขนาดก็มึความหมาย  ตัวอย่างของปริมาณสเกลลาร์ ได้แก่ จำนวนนับของสิ่งของโดยทั่วไป   ระยะทาง  เวลา พื้นที่  งาน  พลังงาน  กระแสไฟฟ้า  เป็นต้น   การคำนวณปริมาณสเกลลาร์    สามารถดำเนินการ บวก ลบ คูณ หาร เหมือนกับการคำนวณในระบบจำนวนทั่ว ๆ ไป  จำนวน 0 ของปริมาณสเกลลาร์ เป็น 0 อ้างอิง ไม่ได้หมายความว่ามีค่าเป็นศูนย์จริง  เช่น อุณหภูมิ 0 เซลเซียส ไม่ได้หมายความว่าวัดอุณหภูมิไม่ได้  แต่กำหนดให้อุณหภูมิขณะนั้นเป็นศูนย์ และอุณหภูมิ -1 เซลเซียสเป็นอุณหภ อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ปริมาณสเกลาร์

ปริมาณเวกเตอร์

ปริมาณเวกเตอร์
    ในหัวข้อนี้ เราจะกล่าวถึง เวกเตอร์ คือ อะไร หรือทำความเข้าใจกับ ปริมาณ เวกเตอร์ปริมาณสเกลาร์ และ การเท่ากันของเวกเตอร์ และยังมี วีดีโอ เรียนเรื่องเวกเตอร์ คือ
เวกเตอร์ซึ่งอธิบายความหมายของเวกเตอร์ และการเขียนเวกเตอร์
ก่อนที่เรา จะทำความเข้าใจ ถึงปริมาณเวกเตอร์เราควรเข้าใจในธรรมชาติกันก่อน
เมื่อเรากล่าวถึง สิ่งของต่าง ๆ จะมี ปริมาณ ที่มีขนาดอย่างเดียว
เช่น อุณหภูมิ (T) 20 °c T = 20 °c
ระยะท อ่านเพิ่มเติม

ค่าความคลาดเคลื่อน

ค่าความคลาดเคลื่อน
       1.การวัด (Measurements) การทดลองทางฟิสิกส์ต้องวัดปริมาณต่างๆ ทางฟิสิกส์ที่เกี่ยวข้อง จากนั้นน ามาค านวณเพื่อ พิสูจน์หรือหาผลสรุป ดังนั้นหากผู้ทดลองวัดผิดพลาดจะส่งผลต่อความถูกต้องและความแม่นย าของ ผลการทดลองอย่างยิ่ง เนื่องจากปริมาณทางฟิสิกส์มีมากมาย ซึ่งแต่ละปริมาณจะใช้เครื่องมือวัดแตกต่างกันและมี วิธีใช้แตกต่างกัน ผู้ทดลองจึงต้องศึกษาชนิดและวิธีใช้เครื่องมือวัดแต่ละชนิดให้เข้าใจและใช้ให้ ถูกต้อง แต่เครื่องมือทุกชนิดจะมีหลักการวัดเหมือนกัน หลักการวัด มีดังนี้ 1.1 พิจารณาว่าเครื่องมือวัดชนิดนั้น ใช้วัดปริมาณฟิสิกส์ปริมาณอะไร ใช้หน่วยอะไร มีค า อุปสรรคหรือไม่ ถ้ามีค าอุปสรรคคืออะไร 1.2 พิจารณาสเกลของเครื่องมือวัด(กรณีเป็ อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ความคลาดเคลื่อน

ระบบหน่วยระหว่างชาติ

   การวัดปริมาณต่างๆทางด้านวิทยาศาสตร์นั้นนักวิทยาศาสตร์จะใช้ระบบหน่วยระหว่างชาติ (International System of Units) หรือ เรียกว่า ระบบ SI ซึ่งพัฒนามาจากระบบเมตริก เป็นระบบหน่วยมาตรฐานที่องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO หรือ International Organization for Standardization) กำหนดขึนให้ทุกประเทศใช้เป็น มาตรฐานเพื่อให้การใช้หน่วยเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลกโดยเฉพาะในวงการวิทยาศาสตร์ระบบเอสไอเป็นระบบที่ใช้กันเกือบทั้งโลก มีเพียงสามประเทศที่ยังไม่ใช้หน่วยเอสไอเป็นมาตรฐานของหน่วยวัด ได้แก่ ไลบีเรีย พม่า และสหรัฐอเมริกา ระบบ SI ปร อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ระบบหน่วยระหว่างชาติ

หลักการนับเลขนัยสำคัญ

หลักการนับเลขนัยสำคัญ
  1.  ถ้าอยู่ในรูปจำนวนเลขทศนิยมให้เริ่มนับตัวเลขแรกที่เป็นเลขโดด (1 ถึง 9)  ตัวเลขถัดไปนับหมดทุกตัว เช่น  0.561,  5.02,  10.00,  0.50   มีจำนวนเลขนัยสำคัญ  3,  3,  2,   4  และ  2  ตัว ตามลำดับ
  2. ถ้าวอยู่ในรูป   เมื่อ  (1  A  < 10)  และ  n  เป็นเลขจำนวนเต็ม ให้พิจารณาที่ค่า  A  เท่านั้นโดยใช้หลักเหมือนกับข้อ  1  โดยไม่ต้องคำนึงถึง n เช่น  ,   (หรือ ),  (หรือ ),   (หรือ )  มีเลขนัยสำคัญ 2, 2,  4  และ  2  ตัว ตามลำดับ
  3. ถ้าอยู่ในรูปจำนวนเต็มให้นับหมดทุกตัวเช่น  16,  125,  5134,   60251  มีจำนวนเลขนัยสำคัญ  2,  3,    4, และ  5 ตามลำดับ แต่ถ้าเลขตัวท้าย ๆ  เป็นเลขศูนย์  ต้องจัดให้อยู่ในรูป     แล้วตอบตามรูปของการจัดเท่าที่เป็นไปได้  โดยมีความหมายเหมื อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เลขนัยสำคัญ